ใบความรู้ที่ 2
ประเภทและคุณสมบัติของฮอร์โมน
ต่อมไร้ท่อหลักของร่างกายประกอบด้วย
1.ไฮโปทาลามัส (Hypothalamus)
2.ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland)
3.ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
4.ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
5.ตับอ่อน (Pancrease)
6.ต่อมหมวกไต (Adrenal gland)
7.ต่อมเพศ (Gonad)
8.ต่อมเหนือสมอง (Pineal gland)
ประเภทและคุณสมบัติของฮอร์โมน
1. Paracrine hormone คือฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์โดยการไปกระตุ้นหรือยับยั้ง
กระบวนการบางอย่างในเซลล์เป้าหมายที่อยู่ข้างเคียง
กระบวนการบางอย่างในเซลล์เป้าหมายที่อยู่ข้างเคียง
2. Autocrine hormone คือฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ที่เซลล์ผลิตฮอร์โมนเอง
3. Endocrine hormone คือ ฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์เป้าหมายที่อยู่ไกล
ออกไปจากเซลล์ที่สร้างออร์โมน
ออกไปจากเซลล์ที่สร้างออร์โมน
4. Neurocrine hormone คือฮอร์โมนที่สร้างจากเซลล์ประสาท ส่งไปตามเส้นใย
ประสาทเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
ประสาทเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
การจำแนกต่อมไร้ท่อตามความสำคัญต่อชีวิต
1.2.1) Essential endocrine gland เป็นต่อมไร้ท่อที่จำเป็นมาก ถ้าขาดแล้วทำให้ตายได้
ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้
ได้แก่ต่อมดังต่อไปนี้
1.1 ) ต่อมพาราไทรอยด์ (parathyroid)
1.2) ต่อมหมวกไตชั้นนอก (adrenal cortex)
1.3) ต่อมไอส์เลตของตับอ่อน (islets of Langerhans )
1.2.2) Non – Essential endocrine gland เป็นต่อมที่ไม่จำเป็นหรือจำเป็นน้อยมากต่อร่างกาย
ได้แก่ต่อม ดังต่อไปนี้
ได้แก่ต่อม ดังต่อไปนี้
2.1) ต่อมใต้สมอง ( pituitary )
2.2) ต่อมไทรรอยด์ ( thyroid )
2.3) ต่อมหมวกไตชั้นใน ( adrenal medulla )
2.4) ต่อมไพเนียล ( pineal )
2.5) ต่อมไทมัส ( thymus )
2.6) ต่อมเพศ ( gonads )
แบ่งฮอร์โมนออกตามคุณสมบัติทางเคมี แบ่งได้เป็น 5 ชนิด คือ
1. ฮอร์โมนประเภทเพป์ไทด์หรือโปรตีน (peptide hormone, protein hormone)
- โครงสร้างประกอบด้วยกรดอะมิโน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ได้จาก hypothalamus, pituitary gland
parathyroid gland, ตับ ตับอ่อนฮอร์โมนประเภทโปรตีนบางชนิดมีคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วน
ประกอบของโมเลกุล เรียกว่า glycoprotein ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่ gonadotropin hormone
(follicle stimulating hormone; FSH, luteinizing hormone; LH) และ thyrotrophic hormone
(thyroid stimulating hormone; TSH) มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ สร้างและเก็บไว้ในต่อมที่
สร้างในถุงขับหลั่งเมื่อหลั่งออกสู่ระบบไหลเวียนจะอยู่ในรูปอิสระไม่จับกับโปรตีนใดๆ
พลาสมา ระดับของฮอร์โมนไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มี half life สั้น 5-10 นาที
ไม่ผ่านเข้าเซลล์อวัยวะเป้าหมาย จึงต้องมีตัว receptor อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ออกฤทธิ์โดยผ่าน
ตัวส่งข่าวตัวที่ 2
- โครงสร้างประกอบด้วยกรดอะมิโน ได้แก่ ฮอร์โมนที่ได้จาก hypothalamus, pituitary gland
parathyroid gland, ตับ ตับอ่อนฮอร์โมนประเภทโปรตีนบางชนิดมีคาร์โบไฮเดรตเป็นส่วน
ประกอบของโมเลกุล เรียกว่า glycoprotein ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่ gonadotropin hormone
(follicle stimulating hormone; FSH, luteinizing hormone; LH) และ thyrotrophic hormone
(thyroid stimulating hormone; TSH) มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ สร้างและเก็บไว้ในต่อมที่
สร้างในถุงขับหลั่งเมื่อหลั่งออกสู่ระบบไหลเวียนจะอยู่ในรูปอิสระไม่จับกับโปรตีนใดๆ
พลาสมา ระดับของฮอร์โมนไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มี half life สั้น 5-10 นาที
ไม่ผ่านเข้าเซลล์อวัยวะเป้าหมาย จึงต้องมีตัว receptor อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ ออกฤทธิ์โดยผ่าน
ตัวส่งข่าวตัวที่ 2
2. Steriod hormone
- สังเคราะห์จากสารเริ่มต้น คือ cholesterol ที่อยู่ในรังไข่นฮอร์โมน อัณฑะ ต่อมหมวกไต
ส่วนนอก มีคุณสมบัติละลายในไขมันได้ดี สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ คุณสมบัติเมื่อ
สร้างเสร็จแล้วจะถูกหลั่งออกมาทันทีถูกขนส่งทางกระแสโลหิตโดยจับกับโปรตีนอย่างจำเพาะ
พลาสมา ระดับฮอร์โมนในกระแสเลือดค่อนขางคงที่ มี half life นานกว่า peptide hormone
เข้าไปในเซลล์จับกับ cytoplasmic receptor ออกฤทธิ์ที่ยีนส์
- สังเคราะห์จากสารเริ่มต้น คือ cholesterol ที่อยู่ในรังไข่นฮอร์โมน อัณฑะ ต่อมหมวกไต
ส่วนนอก มีคุณสมบัติละลายในไขมันได้ดี สามารถแพร่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ได้ คุณสมบัติเมื่อ
สร้างเสร็จแล้วจะถูกหลั่งออกมาทันทีถูกขนส่งทางกระแสโลหิตโดยจับกับโปรตีนอย่างจำเพาะ
พลาสมา ระดับฮอร์โมนในกระแสเลือดค่อนขางคงที่ มี half life นานกว่า peptide hormone
เข้าไปในเซลล์จับกับ cytoplasmic receptor ออกฤทธิ์ที่ยีนส์
3. ฮอร์โมนประเภทเอมีน
- สังเคราะห์จากกรดอมิโน tryptophan, tyrosine โดยตัดกลุ่มคาร์บอกซิล
(-COOH) ออกแล้วมาต่อกันใหม่ เรียกฮอร์โมนกลุ่มนี้ว่า amine สร้างจาก
กรดอะมิโนไทโรซีน (tyrosine) มีขนาดโมเลกุลเล็ก ได้แก่ ฮอร์โมน catecholamine
นอกจากนี้ยังมีต่อมหมวกไตส่วนใน และต่อมธัยรอยด์ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน
ได้แก่ เอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟรินเมื่อหลั่งออกสู่ระบบไหลเวียน เอพิเนฟรินจะจับ
กับอัลบูมินในพลาสมาส่วนนอร์เอพิเนฟริน จะอยู่ในรูปอิสระส่วนธัยรอยด์ฮอร์โมนจะจับ
กับโปรตีนเฉพาะในพลาสมา คุณสมบัติของเอมีฮอร์โมน คือ สร้างและถูกเก็บไว้ใน
ต่อมที่สร้างใน vesicles ถูกขนส่งทางกระแสโลหิต บางชนิดจับกับพลาสมา เช่น ไทรอกซีน
บางชนิดไม่จับกับโปรตีนในพลาสมา ได้แก่ catecholamine เป็นฮอร์โมนที่ละลายในน้ำได้ดี
- สังเคราะห์จากกรดอมิโน tryptophan, tyrosine โดยตัดกลุ่มคาร์บอกซิล
(-COOH) ออกแล้วมาต่อกันใหม่ เรียกฮอร์โมนกลุ่มนี้ว่า amine สร้างจาก
กรดอะมิโนไทโรซีน (tyrosine) มีขนาดโมเลกุลเล็ก ได้แก่ ฮอร์โมน catecholamine
นอกจากนี้ยังมีต่อมหมวกไตส่วนใน และต่อมธัยรอยด์ ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน
ได้แก่ เอพิเนฟรินและนอร์เอพิเนฟรินเมื่อหลั่งออกสู่ระบบไหลเวียน เอพิเนฟรินจะจับ
กับอัลบูมินในพลาสมาส่วนนอร์เอพิเนฟริน จะอยู่ในรูปอิสระส่วนธัยรอยด์ฮอร์โมนจะจับ
กับโปรตีนเฉพาะในพลาสมา คุณสมบัติของเอมีฮอร์โมน คือ สร้างและถูกเก็บไว้ใน
ต่อมที่สร้างใน vesicles ถูกขนส่งทางกระแสโลหิต บางชนิดจับกับพลาสมา เช่น ไทรอกซีน
บางชนิดไม่จับกับโปรตีนในพลาสมา ได้แก่ catecholamine เป็นฮอร์โมนที่ละลายในน้ำได้ดี
4. Derivative of fat
- สังเคราะห์จากไขมันไม่อิ่มตัวได้แก่ arachidonic acid มีความสำคัญต่อการรักษา
สมดุลทางสรีระ
- สังเคราะห์จากไขมันไม่อิ่มตัวได้แก่ arachidonic acid มีความสำคัญต่อการรักษา
สมดุลทางสรีระ
5. Glycoprotein hormone
- เกิดจากการต่อ CHO ให้แก่กรดอมิซีรีน ธรีโอนีน เป็นต้น ได้แก่ FSH, LH, TSH
- เกิดจากการต่อ CHO ให้แก่กรดอมิซีรีน ธรีโอนีน เป็นต้น ได้แก่ FSH, LH, TSH
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น